Kamphuan In Action April 2007 Thai

เมษายน 2550

การรับมือกับภัยพิบัตโิ ดยชุมชน
ตลอดระยะเวลา 14 เดือนที่ผานมา ทางโครงการฯไดรวมมือกับกรม
ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนยเตือนภัยพิบัตแิ หงชาติ อบต. กํา
พวน และกิ่งอําเภอสุขสําราญไดจดั ใหมกี ารฝกซอมรับมือกับภัยพิบัติ
โดยชุมชนในวันเสารที่ 24 กุมภาพันธ 2550 เวลา 9.00 น. มีประชาชน

ชาวบานและเอกสารสําคัญที่ใสซองนําติดตัวไปดวย

คณะกรรมการปฐมพยาบาลฝกซอมการปฐมพยาลผูปวย

เขารวมในการซอมฯ จํานวน 900 คน ทัง้ สามหมูบา น คือ บานทะเล
นอก บานหาดทรายขาว และบานทับเหนือ ทําการซอมการอพยพหนี

ภัยสึนามิไปยังที่ปลอดภัย ใชเวลาเพียง 20 นาที ในการฝกซอมครั้งนี้
ไดใชสัญญาณเตือนภัยจริงเพื่อการทดสอบระบบ มีการเตรียมพรอม
คณะกรรมการทุกฝาย และมีเจาหนาที่ทางอําเภอเปนผูสงั เกตุการณ
หลังเสร็จสิ้นการซอมเจาหนาที่จากอําเภอจัดการประชุมสรุปผลเพื่อ
ประเมินความพรอมของชุมชนและหารือถึงขั้นตอไป


การประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารเพื่อการวางแผนการทองเที่ยวแบบยั่งยืน
วันที่ 5 – 7 กุมภาพันธ 2550โครงการฯไดจดั ใหมีการประชุมเเชิงปฏิบัตกิ ารเพื่อจัดทําแผน
ยุทธศาสตรการทองเที่ยวกิ่งอําเภอสุขสําราญขึ้น ณ ศูนยเรียนรูชุมชนตําบลกําพวน โดย
คณะการจัดการอุตสาหกรรมการทองเที่ยว มหาวิทยาลัยฮาวาย มีผูเขารวมในการทําแผน
ครั้งนี้ 15 คนจากองคกรระดับประเทศ ภูมภิ าค จังหวัด และทองถิ่น เชน กิง่ อําเภอสุข
สําราญ สํานักงานภูมภิ าคของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ศูนยการทองเที่ยว กีฬาและ
สันทนาการ องคการบริหารสวนตําบล ผูใหญบา น บริษัท และองคกรเอกชนทั้งของไทย
และตางประเทศที่ทาํ งานเกี่ยวของกับการพัฒนาการทองเที่ยวในปจจุบัน
จุดประสงคการจัดประชุมครั้งนี้ เพื่อเผยแพรความรูดา นหลักการ แนวคิด และรวมกันทํา
แผนยุทธศาสตรการทองเที่ยวการทองเที่ยวแบบยั่งยืน นอกจากนั้น ยังเปนเวทีใหผูมีสว น
เกี่ยวของดานการทองเที่ยวในตําบลสุขสําราญรวมเสนอประสบการณ ขอมูลขาวสาร และความคิดเห็นเรื่องสถานการณการทองเที่ยวในปจจุบนั และ
การพัฒนาในอนาคต และแนวทางของยุทธศาสตรการพัฒนาระดับประเทศและระดับจังหวัดเพื่อใหนาํ ไปปรับใหสอดคลองกับแผนการพัฒนาระดับ
อําเภอและแผนของชุมชนตอไป

โครงการฟนฟูผูประสบภัยภายหลังจากที่ไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติสึนามิในพื้นที่ชายฝงทะเลอยางยั่งยืน
ไดรับการ สนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศแหงสหรัฐเมริกาโดยมี ถา
บัน ทคโนโลยีแหงเอเชีย (เอไอที) CRC มหาวิทยาลัยโรดไอรแลนด และมหาวิทยาลัยฮาวาย โดยความ
รวมมือ บองคการบริหารสวนตําบล กําพวน กิ่งอําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง เปนหนวย านรวม นดํา
เนินงานเปาหมายหลักของโครงการฯ คือการสรางความรวมมือ โดยกระบวนการของการสวนรวม นการ
สรางกลไก เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา เพื่อที่จะนํามาไปสูความ สําเร็จ และสามารถนําไปประยุกต ชเพื่อ

การ สรางความ งยืนของการดําเนินชีวิตและความเปนอยูของประชาชนในชุมชน และหมูบานตางๆ
ตลอดแนวชายฝงทะเล อันดามัน ที่ไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติสึนามิ ในเดือนธันวาคม 2547

สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ (IUCN) กับโครงการอนุรักษฟนฟู
อุทยานแหงชาติแหลมสน

องคกร สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ ประเทศไทย ไดดาํ นินงาน
ระยะแรกของโครงการฟนฟูระบบนิเวศปาชายเลนและชายฝงสําเร็จ
ลุลวงแลว ในระยะหนึ่งปนนั้ ทางโครงการฯไดทาํ งานดานการสรางเสริม
ศักยภาพ ความตระหนัก และงานดานการฟนฟูสงิ่ แวดลอมในพื้นที่สี่
หมูบา นรอบเขตอุทยานแหงชาติแหลมสน จังหวัดระนองระหวางเดือน
กันยายน 2547 ถึงเดือนธันวาคม 2549 ที่ผานมา
สําหรับผลสําเร็จของโครงการ สามารถกลาวไดวา ประชาชนจํานวน

ติดตอ
โครงการ Post-Tsunami Sustainable
Coastal Livelihoods Program
สํานักงาน อบต. กําพวน
กิ่งอําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง 85120
โทรศัพท: (66-077) 844-19

ผูอํานวยการ:
ดร. Amrit Bart, URI/AIT
โทรศัพท: (66-2) 524-5473
อีเมล: bart@ait.ac.th
เวบไซท: www.ait.ac.th
ผูจัดการภาคสนาม:
มร. คริส ดันบาร, URI/AIT
กิ่งอําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง 85120
Tel: (66- โทรศัพท (077) 844-286
อีเมล: cjdunbar@gmail.com

2,200 คนและองคกรตางๆที่ทาํ งานดานการอนุรักษธรรมชาติในหมูบา น
สีแ่ หง เปนผูไดรับประโยชนโดยตรงจากโครงการนี้ มีการปลูกกลาไมปา
ชายเลนและพันธุไมชายฝงจํานวนกวา 35,000 ตน ครอบคลุมพื้นที่กวา
25,140 ตารางเมตร มีการจัดวาระพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นใน
ประเด็นทางการเมืองและสังคมที่สาํ คัญๆ ระหวางชุมชน องคกรชุมชน
หนวยงานของรัฐ และองคกรเอกชนในพื้นที่ถึง 3 ครั้งทั้งในระดับชาติ
ระดับจังหวัด และระดับชุมชน นอกจากนี้ ยังสามารถเห็นผลประโยชน
ของปาชายเลนตอความเปนอยูที่ดีขนึ้ ไดชัดเจนจากการสรางปาชายเลน
และแปลงเพาะชําตนจากในหมูบา นแหงหนึ่งซึ่งนํารายไดเขาพื้นที่ สวน

การเพาะชําพันธุไมปาชายหาด ณ อุทยานแหงชาติแหลมสนทําใหมีพันธุ
ไมแจกจายฟรีไปยังหมูบา นตางๆเพื่อใหเกิดกิจกรรมการอนุรักษฟนฟู
อยางตอเนื่องไปอีกหลายป การศึกษาประเมินผลทางดานเศรษฐศาสตร
ทําใหเกิดรายงานและการวิจยั อีกหลายชิ้นที่เนนใหเห็นคุณคาของระบบ
นิเวศปาชายเลนตอชุมชนที่ตอ งพึ่งพาปาชายเลนในการดํารงชีวิต
นอกจากนั้น สือ่ สิ่งพิมพตา งๆไดแก หนังสือ คูมือ ไปจนถึงเอกสาร
แนะนําปาชายเลนถูกแจกจายไปยังโรงเรียนและองคกรในชุมชนตางๆ
ตลอดทั่วพื้นที่ของโครงการเพื่อใหทกุ คนสามารถเรียนรูเรื่องความสําคัญ
และคุณคาของปาชายเลนดวยตนเองได

กรมประมง
การปลอยสัตวน้ํา(กุง แชบวย)เพื่อเพิ่มผลผลิตในธรรมชาติ
การปลอยกุงแชบวย เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราช เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2550
กิ่งอําเภอสุขสําราญ รวมกับสวนราชการกรมประมงจังหวัดระนอง ไดรวมกันปลอยกุงแชบวย ขนาด พี 19 จํานวน 3,000,000 ตัว บริเวรทาเทียบ
เรือบานทับเหนือ หมูที่ 2 ตําบลกําพวน กิง่ อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง ละในทะเลอาวกําพวน เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2550 เวลา 10.00 น. เพื่อเฉลิมพระ
เกียรติ 80 พรรษามหาราช โดยมีขา ราชการ และประชาชนมารวมปลอยพันธกุง ประมาณ 100 คน สําหรับพันธกุงแชบวยไดรับการสนับสนุนจากสถานี
เพาะเลี้ยงสัตวนา้ํ ชายฝงระนอง