Kamphuan In Action October 2006 Thai

ตุลาคม 2549

การจัดการภาวะเสี่ยงภัยโดยชุมชนการอบรมเพื่อจัดทําแผนการจัดการภาวะเสี่ยงภัย
ในเดือนกันยายนที่ผานมา ทางโครงการฯ พรอมดวยสํานักงานปองกันบรรเทา
สารธารณภัยจังหวัดระนอง จัดการอบรมใหแกตัวแทนหมูบานเรื่องการจัดการ
ภาวะเสี่ยงภัยโดยชุมชนระยะเวลา 3 วัน ฐิตจักษ อินนุรกษจากสํานักงานปอง
กันฯ ไดจัดใหมีการทําแผนการจัดการภาวะเสี่ยงภัยรวมกัน ของหมูบานใน พื้นที่
4 หมูบานที่ประสบภัยจากคลื่นสึนามิ ระหวางวันที่ 5 – 7 กันยายน 2549 โดยมี
ผูเขารวม 23 คน ประกอบดวยชาย 9 คนและหญิง 13 คน ไดชวยกันจัดทํา
แผนฯ ขึ้น ประกอบดวย แผนที่การอพยพ ถุงอุปกรณฉุกเฉิน และแผนตางๆที่จะ
มอบหมายใหคณะกรรมการในแตละหมูบานรับผิดชอบตั้งแตการเตรียมการไป
จนถึงการฟนฟู กลุมผูเขา
รวมไดตั้งคณะกรรมการขึ้น
แผนที่การอพยพหมูที่ 2 ชุมชนหาดประพาส
โดยมีหนาที่รับผิดชอบแต
ละฝาย เพื่อเตรียมชุมชน
ใหพรอมรับมือกับสถานการณภัยพิบัติ เพื่อลดความเสี่ยง และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
ได คณะกรรมการประกอบไปดวย คณะกรรมการเตือนภัย คณะกรรมการอพยพ
คณะกรรมการกูภัย
คณะกรรมการอํานวยการ ณ จุดหลบภัย คณะกรรมปฐม
พยาบาล

คณะกรรมการฟนฟูพื้นที่ประสบภัย และกรรมการประสานงาน
ประชาสัมพันธ
คณะผูเขารวมการจัดทําแผนการจัดการเสี่ยงภัย

ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติมาเยี่ยมชมบานทะเลนอก
ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ ไดจัดใหมีการอบรมในวันที่ 7 กันยายนที่ผานมา ณ โรงแรมระนอง รอยัล ปริ๊นเซส จังหวัดระนอง เพื่อใหความรู
และขอมูลขาวสารเกี่ยวกับระบบเตือนภัยในมหาสมุทรอินเดีย ใหกบั เจาหนาที่ระดับจังหวัด
อําเภอ และระดับตําบล รวมถึงตํารวจ ทหาร สํานักปองกันภัยฯ และ อบต. เปนตน
นอกจากนี้ ทางคณะฯ ไดไปเยี่ยมชม
บานทะเลนอก ตัวแทนหมูบาน และ
เจาหนาที่โครงการฯ ไดนําเสนอแผนที่
เสี่ยงภัยของหมูบาน รวมทั้งแผนการ
รับมือกับภัยพิบัติที่ทางผูเขารวม
กิจกรรมของโครงการฯ ไดชวยกัน
จัดทําขึ้นมา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติ คณะกรรมการประจําหมูบานอธิบายแผนที่ภาวะ
อนึ่ง เจาหนาที่จากศูนยเตือนภัยฯ ได เสี่ยงภัยและแผนงานแกผูมาเยี่ยมชม
ใหกาํ ลังใจแกคณะกรรมการฯ ของหมูบาน และขอใหหมูบานพัฒนาขึ้นเปนโครงการ
เจาหนาที่จากศูนยเตือนภัยพิบัตแิ หงชาติเขา
ตัวอยางใหแกหมูบาน และชุมชนอื่นๆบริเวณชายฝงทะเลของประเทศไทย
เยี่ยมชมความพรอมของบานทะเลนอก


โครงการฟนฟูผูประสบภัยภายหลังจากที่ไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติสึนามิในพื้นที่ชายฝงทะเลอยางยั่งยืน
ไดรับการ สนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศแหงสหรัฐเมริกา โดยมีสถาบัน
เทคโนโลยีแหงเอเชีย (เอไอที) CRC มหาวิทยาลัยโรดไอรแลนด และมหาวิทยาลัยฮาวาย โดยความรวมมือ
กับองคการบริหารสวนตําบล กําพวน กิง่ อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง เปนหนวยงานรวมในดําเนินงาน
เปาหมายหลักของโครงการฯ คือการสรางความรวมมือ โดยกระบวนการของการมีสว นรวมในการสรางกลไก
เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา เพื่อที่จะนํามาไปสูความ สําเร็จ และสามารถนําไปประยุกตใชเพื่อกา สรางความ
ยั่งยืนของการดําเนินชีวิตและความเปนอยูของประชาชนในชุมชน และหมูบานตางๆ ตลอดแนวชายฝงทะเล

ติดตามขาวเงินทุนหมุนเวียน
กองทุนหมุนเวียนใน 5 หมูบาน ไดดาํ เนินการมาแลวเปนเวลา 1 ป โครงการฯ เห็นวาการพัฒนา
กองทุนกูยืมเพื่อการประกอบอาชีพขึ้นในหมูบานเปนความสําเร็จที่ดี ในชวงแรกมีจํานวนสมาชิก
250 คนและขณะนี้เพิ่มขึ้นเกือบ 400 คนโดยมีจํานวนผูกเู กือบ 300 คน มีการสงเงินคืนในอัตรา
ที่สงู เปนสวนใหญ ดังที่สรุปไวในตาราง ทางโครงการฯ วางแผนวาจะติดตามความกาวหนาของ
กองทุนฯ และใหคาํ ปรึกษาเพื่อพัฒนาความสามารถของ
หมูที่
จํานวนผูก ู
สมาชิกในการบริหารกองทุน นอกจากนี้ทางสิริคอนซัลทจะ
(คน)
เขามาชวยจัดการทัศนศึกษาที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

65
หมูที่ 1
ซึ่งปนพื้นที่ทเี่ คยประสบภัยภัยพิบัติเมื่อ 10 ปที่แลว
นอกจากนี้ทางกองทุนฯ จะดูความเปนไปไดวาจะพัฒนาเปน หมูที่ 2
50
รูปแบบธนาคารชุมชน และสหกรณตอไป
70
หมูที่ 3

ขาว อบต.

ติดตอ
โครงการ Post-Tsunami Sustainable
Coastal Livelihoods Program
สํานักงาน อบต. กําพวน
กิ่งอําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง 85120
โทรศัพท: (66-077) 844-19
ผูอํานวยการ:
ดร. Amrit Bart, URI/AIT
โทรศัพท: (66-2) 524-5473

อีเมล: bart@ait.ac.th
เวบไซท: www.ait.ac.th
ผูจัดการภาคสนาม:
มร. คริส ดันบาร, URI/AIT
กิ่งอําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง 85120

จํานวนเงิน
(บาท)

จํานวนจายคืน (บาท)

1,300,000

225,888

1,000,000

90,200

1,400,000


713,505

หมูที่ 4

57

1,140,000

204,357

หมูที่ 7

57

1,140,000

315,500

299


5,980,000

1,549,450

นายดาหรี มาโนชน นายก อบต.ตําบลกําพวนเปน รวม
ตัวแทนจากตําบลกําพวนเขารวมในการอบรมเรื่องการ
จัดการทรัพยากรชายฝงอยางมีสว นรวมของอุทยานแหงชาติแหลมสน
ระยะเวลาหนึ่งสัปดาห โดยความรวมมือของโครงการยูเสด(USAID) และ
โครงการจัดการพื้นที่คมุ ครองอยางมีสว นรวม (JOMPA) สนับสนุนเงินทุน
จากรัฐบาลประเทศเดนมารก ในจัดการอบรมใหกบั สมาชิกคณะที่ปรึกษา
อุทยาน (PAC) และวางแผนที่จะไปดูงานที่ประเทศอินโดนีเซียเพื่อการ
พัฒนาศักยภาพแกสมาชิก

สนามฟุตบอลบานหาดทรายขาว หมูที่ 7

ปูหญาสนามฟุตบอลหมูบานประสบภัยสึนามิ

ผูเขาอบรมเปนคณะที่ปรึกษาอุทยานเยี่ยมชมศูนยวิจัยปา
ชายอําเภอหงาว จังหวัดระนอง


หมูบานหาดทรายขาวในตําบลกําพวนไดรับผลกระทบอยาง
รุนแรงจากคลื่นสึนามิเมื่อป 2547 ทําใหครอบครัวกวา 50
ครอบครัวตองยายบานไป และมีจําเปนตองปลูกสรางที่พัก
ชั่วคราวในสนามกีฬาของหมูบานในระหวางที่รอการกอ
สรางบานหลังใหม และในเดือนมีนาคมที่ผานมา ทาง อบต.
ไดถมดินปรับพื้นที่สนาม และทางโครงการยูเสดไดจัดซื้อ
หญาและปุยปรับปรุงสนามฟุตบอลใหใชไดเหมือนเดิม