Kamphuan In Action August 2006 Thai

สิงหาคม 2549

หมูบา นเริ่มจัดทําโครงการคัดแยกขยะ และการนํากลับมาใชใหม “รีไซเคิล”

จากการศึกษาดูงานเกี่ยวกับการจัดการขยะของ
เทศบาลตําบลควนเนียง และเทศบาลตําบลกํา
แพง เพชร จังหวัดสงขลา ทําใหผูศึกษาดูงานได
เรียนรูเทคนิควิธีการจัดการขยะ และการบริหาร
จัดการของชุมชนที่ประสบความสําเร็จ ทางกลุมผู
ศึกษาดูงาน ไดจัดใหมีการประชุมเชิงปฏิบัtติการ
เรื่องการจัดการขยะในชุมชนขึ้น เมื่อ วันที่ 15
มิถุนายน 2549 โดยมีชาวบานเขารวมประชุมจํา
นวน 61 คน เพื่อนําความรูมาปรับใช และชวยกันหาแนวทางที่เหมาะสมในการ
จัดการขยะโดยชุมชนเอง พรอมทั้งไดจัดตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบในการบริหารจัด
การรับซื้อ คัดแยกขยะที่สามารถนํากลับมาใชใหม “รีไซเคิล” นับวาเปนเปลี่ยน “ขยะให
เปนเงิน” และยังชวยปรับปรุงสิ่งแวดลอม สุขอนามัย เพิ่มรายไดใหกบั ชาวบาน โดยการ ชาวบานซอยทากลาง หมูที่ 4 กําลังประชุมวาง
นําของที่ไมสามารถใชประโยชนไดไปขายใหกบั กลุม ชุมชนอื่นๆในกิ่งอําเภอสุขสําราญ แผนการจัดการขยะในชุมชน
ไดใหความสนใจที่จะทําโครงการในลักษณะเดียวกันนี้ดว ย
ชุมชนซอยทากลาง หมูที่ 4 ไดกาํ หนดกิจกรรมตางๆ ในแตละเดือน บุคคลผูรับผิดชอบ และอุปกรณตางๆที่จะใชในแตละกิจกรรม เชนการรณรงค
ทําความสะอาดชุมชน การใหความรูเรื่องการนําขยะกลับมาใชใหม การทําปุยหมักในครัวเรือนเปนตนสวนคณะกรรมการฯกําลังมองหาพื้นที่ทเี่ หมาะ
สมเพือ่ จัดทําเปนโรงเรือน สําหรับรับซื้อของที่เหลือใช โดยการแลกกับไข หรือของใชในครัวเรือน เชนน้ํายาลางจาน สบู เปนตน และพัฒนาเปนธนาคาร

ขยะตอไปในอนาคต
ชุมชนหาดประพาส หมูที่ 2 ก็มคี วามสนใจในการจัดการขยะ เชนกัน และไดดาํ เนินการเชนเดียวกับชุมชนทากลาง ทางคณะกรรมการจากทากลางไดชวย
สาธิตการคัดแยกขยะใหกบั ชุมชนหาดประพาส

การเลี้ยงเปดรวมกับการเลี้ยงปลา
บานทะเลนอก หมูที่ 1 นั้นไดมีการเลี้ยงเปด และปลาดุกเพื่อการบริโภค และขายโดยแยก
กันทําสําหรับโครงการฯ ไดริเริ่มการรวมกิจกรรมการเลี้ยงทั้งสองแบบนี้เขาดวยกัน คือการ
เลี้ยงสัตว และปลูกพืชแบบผสม
ผสาน ซึ่งเปนวิธีการที่เหมาะสม
ที่ชวยใหครอบครัว มีรายไดเสริม
และลดการพึ่งพาแหลงทรัพยากร
ธรรมชาติได เพื่อใหการเลี้ยงสัตว
ทั้ง 2 ชนิดมีประสิทธิภาพมาก
ขึ้นทางโครงการฯ จึงเสนอใหมี บอปลา และเปด ของนายเอกรัฐ เชื่องยาง บาน
การเลี้ยงเปดและปลานิลแบบผสม ทะเลนอก หมูที่ 1
ผสาน และปลูกผักสวนครัวไวบน
ปลาบปลื้มกับบานใหม...
คันบอปลา

โครงการฟนฟูผูประสบภัยภายหลังจากที่ไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติสึนามิในนื้นที่ชายฝงทะเลอยางยั่งยืนไดรับ

การสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศแหงสหรัฐเมริกา โดยมีสถาบันเทคโนโลยี
แหงเอเชีย (เอไอที)CRC มหาวิทยาลัยโรดไอรแลนด และมหาวิทยาลัยฮาวายโดยความรวมมือกับองคการ
บริหารสวนตําบล กําพวน กิง่ อําเภอสุขสําราญ จังหวัดระนอง เปนหนวยงานรวมในดําเนินงานเปาหมายหลักของ
โครงการฯคือการสรางความรวมมือโดยกระบวนการของการมีสว นรวมในการสรางกลไกเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา
เพื่อที่จะนํามาไปสูความสําเร็จ และสามารถนําไปประยุกตใชเพื่อการสรางความยั่งยืนของการดําเนินชีวิต และ
ความเปนอยูของประชาชนในชุมชนและหมูบานตางๆตลอดแนวชายฝงทะเลอันดามันที่ไดรับผลกระทบจากภัย
พิบัติสึนามิ ในเดือนธันวาคม 2547 ที่ผานมา

ศูนยการเรียนรูชมุ ชนกําพวนเรมดําเนินการกอสราง
หลังจากการเจรจาเรื่องการดําเนินการกอ
สรางอยูระยะหนึ่ง โครงการฯ ไดคดั เลือก
บริษัทผูรับเหมา
และเริ่มดําเนินการกอ
สรางศูนยการเรียนรูชุมชนกําพวนในพื้นที่
หมูที่ 2 โดยมีกาํ หนดการสรางเสร็จภายใน
อีก 5 เดือน และกําหนดพิธีเปดในวันที่ 18
ธันวาคม 2549 นี้ ปจจุบันโครงการกําลัง
จัดหาเจาหนาที่ประจํา เพื่อทําหนาที่ดาํ เนิน
งาน และพัฒนาศูนยตอไป อนึ่งทางโครง ฐานรากของอาคารศูนยการเรียนรูชมุ ชนกําพวน
การฯ ยินดีเปดรับขอคิดเห็นจากชุมชน

ดําเนินการกอสรางเสร็จแลว

ขาวสารจาก อบต. กําพวน
ระหวางวันที่ 8-10 สิงหาคม 2549ที่ผานมา โครงการไดรวมมือ กับอบต. กําพวนได
จัดใหมีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการวางแผนพัฒนาตําบลเชิงบูรณาการ ทีจ่ งั หวัด
ชุมพร เพื่อเสริมสรางศักยภาพของผูบริหาร เจาหนาที่ และสมาชิก อบต.
ในกระบวนการวางแผนอยางมีสว นรวม เทคนิคการวางแผน ตางๆที่เกี่ยวของกับการ
วางแผนในระดับตําบล อยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ติดตอ:

อบต. กําพวน
กิ่ง อ. สุขสําราญ จ. ระนอง 85120
โทรศัพท (66-077) 844-198
โครงการ Post-Tsunami Sustainable
Coastal Livelihoods Program
ผูอํานวยการ:
Dr. Amrit Bart, URI/AIT
Tel: (66-2) 524-5473
Email: bart@ait.ac.th

Website: www.ait.ac.th
ผูจัดการภาคสนาม:
มร, คริส ดันบาร, URI
กิ่ง อ. สุขสําราญ จ. ระนอง 85120
โทรศัพท: (66-077) 844-286
Email: cjdunbar@gmail.com

ขาวสารกองทุน

การศึกษาดูงานของกองทุนนั้นทางโครงการมี
แผนการศึกษาดูงานที่ นครศรีธรรมราช และ
กระบี่ เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนที่ประ
สบความสําเร็จ และการพัฒนากองทุนเปนธนา
คารชุมชน หรือสหกรณของชุมชนอยางยั่งยืน
ตอไป

ถังสเตนเลสเก็บน้ําที่บา นทะเลนอก ขนาด 1000 ลิตร 2 ถัง

การสนับสนุนถังเก็บน้ําแกหมูบา นที่ประสบภัย


ผูเขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารการวางแผนระดับตําบลเชิงบูรณาการ

ระหวางการประชุมรวมกับหมูบา นพบวา ถังเก็บน้ําในหมู 1 บาน
ทะเลนอก แตกราว และรั่วซึม ทางโครงการฯจึง ไดจัดซื้อถังเก็บ
น้าํ สเตนเลส ขนาด 1000 ลิตร จํานวน 2 ถัง เพื่อเก็บน้าํ สําหรับ
การอุปโภคบริโภค ตามวัตถุประสงคหนึ่งของโครงการฯที่จดั หา
น้าํ สะอาด เพื่ออุปโภคบริโภคสําหรับประชาชนในพื้นที่ทโี่ ครง
การฯ ดําเนินงานอยู