GREENonEquity Issue1 Thai

GREENon

Equity
ฉบับที่ 1





ปี ที่ 1



มิถุนายน 2556

จดหมายข่าวเพื่อความเสมอภาค
โดย โครงการเพื่อความเสมอภาคระดับรากหญ้ า
และการขยายเครื อข่ายในลุม่ น ้าโขง

ถึง ผู้อ่านทุกท่ าน,


ผมรู้ สึ ก เป็ นเกี ย รติ อ ย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะน าเสนอจดหมายข่ า ว
“GREEN on Equity” ซึง่ เป็ นฉบับแรก ของโครงการเพื่อความเสมอ
ภาคระดับรากหญ้ าและการขยายเครื อ ข่า ยในลุ่มน า้ โขง (GREEN
Mekong-กรี นแม่โขง) ซึง่ มีเป้าหมายในการสร้ างความเสมอภาคและ
เป็ นธรรมในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาค
ป่ าไม้
โครงการกรี น แม่ โขง เป็ นโครงการที่ มี การด าเนิ น งานใน
ระดับภูมิภาคลุ่มแม่นา้ โขงตอนล่าง ซึง่ ประกอบด้ วย ประเทศกัมพูชา
ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม โดยจะดาเนินงานด้ านการเสริ มสร้ าง
ศักยภาพของผู้กาหนดนโยบาย องค์กรภาคประชาสังคม และผู้มีส่วน
ได้ เ สี ย หรื อ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ องในระดับ รากหญ้ า เพื่ อ สร้ างกระบวนการ
ปรึกษาหารื อกับภาคส่วนต่างๆ ซึง่ ทางานเกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ พร้ อมกับการสนับสนุนและส่งเสริ มให้
เกิดความร่ วมมือและแลกเปลี่ยนข้ อมูลรวมถึงการสร้ างเครื อข่าย
โครงการกรี นแม่โขงจะสนับสนุนให้ เกิดเครื อข่ายการเรี ยนรู้
เกี่ ยวกับความเสมอภาคและการมี ส่วนร่ วมในการบรรเทาภาวะการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ ซงึ่ เป็ นการนามุมมองของผู้
มีส่วนได้ เสียในระดับรากหญ้ ามาสู่กระบวนการพิจารณาและตัดสินใจ
นอกจากนัน้ โครงการจะทาการพัฒนาหลักสูตรการฝึ กอบรมที่จะช่วย
สร้ างความเข้ มแข็งให้ แก่ผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสียระดับรากหญ้ า เพื่อให้ พวก

เขาสามารถเข้ าร่ วมในการพัฒนาและสามารถสื่อสารในประเด็นและ
มุม มองด้ านการจัด การป่ าไม้ ภายใต้ กลไกการบรรเทาภาวะการ
เปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศในภาคป่ าไม้ ให้ กับ ผู้มี อ านาจในการ
ก าหนดนโยบาย ทัง้ นี ้ จดหมายข่ า วนี จ้ ะเป็ นเครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ในการ
สื่ อ สารและการกระจายข้ อ มูล ข่ า วสารที่ เ กี่ ย วกับ โครงการเพื่ อ เป็ น
สื่อกลางที่จะสนับสนุนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ รวมถึง
การขยายเครื อข่าย
จดหมายข่าว GREEN on Equity จะมีกาหนดการออก
เผยแพร่ ทุกๆ 6 เดือ น เริ่ มจากเดือ นนี เ้ ป็ นต้ น ไป ในจดหมายข่าวจะ
ประกอบด้ ว ยข่ า วสารและข้ อ มูล จากที ม งานเกี่ ย วกับ กิ จ กรรมและ

ความสาเร็ จในด้ านการผลัดกันนโยบาย การเสริ มสร้ างศักยภาพ และ
การแลกเปลี่ ย นข้ อ มูล ข่ า วสารภายใต้ ก ารด าเนิ น งานของโครงการ
จดหมายข่า วนี จ้ ะนาเสนอข้ อ เท็จจริ ง ข้ อ มูล เชิ งสถิติ ความรู้ และ
แหล่งข้ อมูลต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อความเข้ าใจร่ วมกันในเรื่ องความ
เสมอภาคในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาค
ป่ าไม้ นอกจากนันจดหมายข่

าวนี ้ยังมีคอลัมน์ที่เกี่ยวกับความเสมอภาค
ในมิติหญิงชาย(Gender Lens) หรื อการมองผ่านเลนส์ในมิติหญิง

ชาย
เรามีความยินดีต้อนรับทุกท่านสู่เส้ นทางแห่งการเรี ยนรู้ สาย
ใหม่ที่น่าตื่นเต้ น เพื่อส่งเสริ มความเสมอภาคและความร่ วมมือของทุก
ภาคส่ ว นของสั ง คมในการอภิ ป รายในประเด็ น ด้ านป่ าไม้ กั บ การ
เปลี่ ย นแปลงสภาพภูมิอ ากาศ เราหวัง ที่ จะได้ รั บการสนับสนุนจาก
ผู้อ่านต่อโครงการระดับภูมิภ าคของเราซึ่งมี ความตัง้ ใจที่สร้ างความ
ร่ วมมือหลากหลายภาคส่วนและกระบวนการมีส่วนร่ วมในการพัฒนา
กลไกเพื่อการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ า
ไม้ และรวมถึงการเตรี ยมความพร้ อมสาหรับกลไกเรดด์พลัส(REDD+)
นอกจากจดหมายข่าว GREEN on Equity จะถูกนาเสนอ
ด้ วยภาษาอังกฤษเป็ นภาษาหลักแล้ ว เรายังได้ จดั ทาจดหมายข่าวนี ้ใน
อีก 5 ภาษาของประเทศในภูมิภาคลุ่มนา้ โขง ได้ แก่ เขมร ลาว พม่า
ไทย และเวียดนาม
โครงการกรี นแม่โขงยินต้ อนรั บท่านเป็ นสมาชิกของชุมชน
แห่งการเรี ยนรู้ แห่งใหม่ที่ม่งุ สู่ความเสมอภาคในภูมิภาคลุ่มนา้ โขง ขอ
เชิญทุกท่านสมัครสมาชิกจดหมายข่าวได้ จากเว็บไซต์ของ RECOFTC
เรายินดีที่จะได้ รับข้ อเสนอแนะจากท่านผ่านทาง
green.mekong@recoftc.org

ยินดีต้อนรับทุกท่านครับ,

Etienne Delattre
Chief of Party

โครงการกรีนแม่ โขง

เนือ้ หาในฉบับ

■ แนะนาวัตถุประสงค์โครงการ รวมถึง ■ แหล่งข้ อมูล และข่าวสาร ■ เจนเดอร์ เลนส์ (มองผ่านเลนส์

ข้ อมูลด้ านต่างๆ และสรุ ปกรอบ
ความคิดสู่ความเสมอภาค ในหน้ าที่ 2
และ 3



ฉบับที่1



ปี ที่ 1




มิถุนายน 2556

เกี่ยวกับความเสมอภาคใน
การบรรเทาภาวะการ
เปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศในภาคป่ าไม้
หน้ าที่ 2 และ 4


หน้ า 1 จาก 6

มิตหิ ญิงชาย) : นาเสนอข้ อมูลและ
แหล่งความรู้ ที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ อง
ความเสมอภาคในมิติหญิงชาย
หน้ าที่ 5

ความเสมอภาคในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ คือ

อะไร?
สิทธิท่ ชี ัดเจน
และ
มีประสิทธิภาพ
สิทธิท่ ชี ัดเจนและมี
ประสิทธิภาพ (Clear and
Effective Rights) คือการ
ให้ โอกาสผู้มีส่วนได้ เสียทุก
ระดับได้ มีส่วนร่ วมและได้ รับ
ประโยชน์จากกิจกรรมที่
เกี่ยวกับการบรรเทา
ภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ และ
การจัดการป่ า

ธรรมาภิบาล

การแบ่ งปั น
ผลประโยชน์
ที่เป็ นธรรม


ธรรมาภิบาล (Good
Governance) คือการ
สนับสนุนหลักนิตธิ รรม การ
เคารพสิทธิ มีความโปร่ งใส ยึด
หลักความรับผิดชอบและ
ตรวจสอบได้ การเข้ าถึงข้ อมูล
และการมีส่วนร่ วมที่เหมาะสม
ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียใน
กระบวนการตัดสินใจ

การที่ผ้ มู ีส่วนได้ เสียทุกกลุ่ม
ซึง่ มีความเข้ มแข็งและชัดเจน
ในสิทธิของตน ได้ รับการ
แบ่ งปั นผลประโยชน์ อย่ าง
เป็ นธรรม (Fair share of
benefits) จากกิจกรรมการ
บรรเทาภาวะการ
เปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ และ

การจัดการป่ า



ความเสมอภาค
การที่ผ้ ูมีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาค
ส่ วนได้ รับการปฎิบัติอย่ างเป็ น
ธรรม อันเป็ นผลจากการสร้ าง
และดาเนินการทางนโยบาย การกระจายทรัพยากรและต้ นทุน
ตามหลักการที่ได้ รับการเห็นชอบ
ร่ วมกัน

ทาไมความเสมอภาคจึงมีความสาคัญ?

ความเสมอภาค เป็ นประเด็นหนึ่งที่ได้ รับความสนใจและเป็ นที่ถกเถียงในระดับนานาชาติ
เกี่ ยวกับการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ ข้ อกังวลที่สาคัญคือการ
บรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ จะส่งผลให้ เกิดความไม่เป็ นธรรมกับชุมชน
ท้ องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่ องการจัดการทรั พยากรป่ าไม้ ในขณะเดียวกันการบรรเทาภาวะการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ ก็สามารถช่วยเสริ มสร้ างความเป็ นธรรมเพิ่มขึ ้นได้ พื ้นฐาน
ของโครงการกรี นแม่โขงเกิดจากการตระหนักว่าการเสริ มสร้ างความเสมอภาคเป็ นสิ่งสาคัญต่ออนาคต

ของการจัดการทรัพยากรป่ าไม้ ในภูมิภาคลุ่มน ้าโขง รวมทังต่
้ อชุมชนที่พงึ่ พิงทรัพยากรเหล่านัน้

แหล่ งข้ อมูลเพิ่มเติมเรื่ องความเสมอภาค
เรดด์เน็ต (REDD-net) คือศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และสื่อเพื่อการ
เรี ยนรู้ ที่เกี่ยวกับเรดด์พลัส(REDD+)หรื อการลดการปลดปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกจากการทาลายป่ า
และความเสื่ อ มโทรมของป่ า ท่ า นสามารถอ่ า นวารสารทุ ก ฉบับ ของ REDD-net ได้ ที่

http://www.redd-net.org

เอกสารของ RECOFTC ที่ตีพิมพ์ร่วมกับ East-West Center เรื่ อง Hanging in
the Balance: Equity in Community-Based Natural Resource Management in
Asia ที่ มี ก ารหยิ บ ยกค าถามส าคัญ ต่ า งๆเกี่ ย วกั บ ความเสมอภาคในบริ บ ทของการจั ด การ
ทรัพยากรธรรมชาติโดยมีชมุ ชนเป็ นฐาน ดูรายละเอียดได้ จาก http://www.recoftc.org/site/

การประชุมนานาชาติครั ง้ แรกในหัวข้ อ ของความเสมอภาคในการบรรเทาภาวะการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ จัดขึ ้นในเดือนมีนาคม 2555 ที่ประเทศอังกฤษภายใต้
ชื่อ “Beyond Carbon Conference” เนื ้อหาของการประชุมนี ้เป็ นการสะท้ อนถึงพัฒนาการของ
ความเป็ นธรรมและความเสมอภาคในประเด็นที่มีการถกเถียงเกี่ยวกับ REDD+ เป้าหมายของการ
ประชุมครัง้ นี ้คือการหารื อเกี่ยวกับข้ อจากัดและโอกาสในการสร้ างผลประโยชน์ร่วมกันจาก REDD+

ในช่วงเวลา 2 วันของการประชุมครัง้ นี ้มีนกั วิทยาศาสตร์ , เจ้ าหน้ าที่รัฐ, เจ้ าหน้ าที่จากองค์กรภาค
ประชาสังคม และภาคเอกชนเข้ าร่ วมการประชุมมากกว่า 100 คน ท่านสามารถหาเอกสารและสื่อ
หลากหลายรู ปแบบที่เกิดจากการประชุมได้ ที่ http://www.eci.ox.ac.uk/redd/


ฉบับที่1



ปี ที่ 1



มิถุนายน 2556



หน้ า 2 จาก 6

โครงการกรีนแม่ โขงจะมีส่วนสนับสนุนให้ เกิดความเสมอ

ภาคได้ อย่ างไร?
เสริมสร้ างความเข้ มแข็งของกระบวนการทางนโยบายเกี่ยวกับการบรรเทา
ภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ ในระดับชาติและภูมิภาค
การสร้ างกลไกการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเพื่อนาเสนอมุมมองจากผู้มีส่วนได้ เสียในระดับ
รากหญ้ าสู่ผ้ กู าหนดนโยบายในระดับชาติ และระดับประเทศ โดยใช้ กระบวนการการเรี ยนรู้ การให้
ข้ อมูลที่ชดั เจน และการปรึกษาหารื อร่ วมกันผ่านช่องทางต่างๆ ทังในระดั

บชาติและภูมิภาค เพื่อให้
ผู้กาหนดนโยบายนาเอาความคิดเห็นเหล่านี ้มาพิจารณาเพื่อนาไปสู่การเสริ มสร้ างความเสมอภาค
ในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ อย่างมีประสิทธิภาพ

สร้ างศักยภาพให้ กับองค์ กรภาคประชาสังคม เพื่อเสริมสร้ างความเสมอภาค
ในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้

กิจกรรมเสริ มสร้ างศักยภาพให้ กับองค์กรภาคประชาสังคมจะช่วยให้ ผ้ ูมีส่วนได้ เสียระดับ
รากหญ้ ามีความเข้ าใจในหลักการของการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาค
ป่ าไม้ ซงึ่ มีประเด็นของความเสมอภาคเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการทังในระดั

บท้ องถิ่น ระดับชาติ
และระดับนานาชาติ รวมทังในการวางแผนและการด

าเนินโครงการที่เกี่ยวข้ อง นอกจากนี ้โครงการ
ยังคาดหวังว่าจากศักยภาพที่เพิ่มขึ ้นจะทาให้ ชุมชนมีช่องทางต่างๆ มากขึ ้นในการเข้ ามามีส่วนร่ วม
อย่ า งแข็ ง ขัน และสามารถร่ ว มกัน ค้ น หาแนวทางที่ เ หมาะสมเพื่ อ ตอบสนองต่อ ความท้ า ทาย
อุปสรรคและความเสี่ยงในการดาเนินงานเพื่อการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ในภาคป่ าไม้ ในหลากหลายระดับ

ข้ อมูลเกี่ยวกับโครงการ
 ระยะเวลาดาเนินโครงการ: 3 ปี (ตังแต่

เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนกันยายน

 แหล่งทุน: USAID Regional

2558)

Development Mission Asia
 ประเทศที่ดาเนินโครงการ: กัมพูชา ลาว

พม่ า ไทย และเวียดนาม

ผู้เกี่ยวข้ องในภาคส่ วนต่ างๆ มีความเข้ าใจเพิ่มขึน้ เกี่ยวกับความเสมอภาคใน
การบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้
สื่ อ และเอกสารเพื่ อ การสื่ อ สารที่ พัฒ นาขึน้ จากโครงการจะช่ ว ยสร้ างความเข้ า ใจและ
ตระหนัก รู้ แก่ ผ้ ูเ กี่ ย วข้ อ งจากภาคส่ ว นต่า งๆ ถึง เรื่ อ งความเสมอภาคในการบรรเทาภาวะการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ ปั จจัยดังกล่าวจะนาไปสู่นโยบายและกระบวนการการ
พัฒนาศักยภาพและการแบ่งปั นข้ อมูลที่เหมาะสมสอดคล้ อง ในที่นี ้ผู้เกี่ยวข้ องจากภาคส่วนต่างๆ
ได้ แก่ หน่วยงานรั ฐ ภาคประชาสังคม สถาบันการศึก ษา องค์กรท้ อ งถิ่น ชุมชน องค์กรพัฒนา
เอกชนในระดับชาติและนานาชาติ และภาคธุรกิจ
เว็บไซต์ ของโครงการกรีนแม่ โขง
จะเป็ นศูนย์ กลางออนไลน์ สาหรั บ
ประเด็นความเสมอภาคในการ
บรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้
ท่ านสามารถเรี ยนรู้ เพิ่มเติม
เกี่ยวกับโครงการกรีนแม่ โขงจาก
เว็บไซต์ ของเราที่

ท่ านสามารถเข้ าถึง
ข้ อมูลสาคัญ
เกี่ยวกับโครงการ
(factsheet)

ได้ ท่ เี ว็บไซต์ ของเรา

http://www.recoftc.org/site/about-green-mekong

ความเสมอภาคในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ คืออะไร?
ขอเชิญร่ วมเสนอแนะคาตอบหรื อแสดงความเห็นต่อความหมายของคาว่า กรี นแม่โขง
เราจะนาทุกความเห็นของท่านมาแสดงบนเว็บไซต์ของโครงการ ข้ อเสนอแนะที่ดีที่สดุ จะได้ รับการ
เผยแพร่ ในจดหมายข่าวฉบับต่อไปของเรา ส่งความคิดเห็นของท่านได้ ที่
green.mekong@recoftc.org



ฉบับที่1



ปี ที่ 1



มิถุนายน 2556



หน้ า 3 จาก 6

 มีข้อเสนอแนะทางนโยบายอย่ างน้ อย 2
ชุด ที่รวบรวมประเด็นเกี่ยวกับภาวะการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ จาก
ระดับรากหญ้ าเพื่อนาไปถ่ายทอดในเวทีหรือ
เครือข่ายทางนโยบายระหว่าง ประเทศในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 มีองค์ กรภาคประชาสังคมระดับชาติถึง 20
องค์ กรที่ได้ รับการอบรมในประเด็นความเสมอ
ภาคในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศในภาคป่ าไม้ และมีความสามารถใน
การจัดกระบวนการปรึกษาหารือกับผู้มีสว่ นได้ เสีย
ในระดับรากหญ้ า
 มีองค์ กรภาคประชาสังคมระดับชาติจานวน
ถึง 10 องค์ กรที่ได้ รับการสนับสนุนในการ
รวบรวมและสื่อสารมุมมองต่างๆอของผู้มีสว่ นได้
เสียในระดับรากหญ้ าสูผ่ ้ กู าหนดนโยบายใน
ประเทศเหล่านัน้
ผลิตผลของโครงการ

สถานการณ์ และข่ าวสารในประเด็นความเสมอภาค
การประชุมเรื่ อง “การส่ งเสริมความเสมอภาคต่ อกลไกการลดการปล่ อยก๊ าซเรื อนกระจกจากการ
ทาลายป่ าและความเสื่อมโทรมของป่ าไม้ (REDD+): มุมมองจากภาคประชาสังคมในประเทศไทย”
ในวันที่ 6 มีนาคมที่ผ่านมา โครงการกรี นแม่โขงและ LEAF
Asia (Lowering Emission in Asia's Forests) ได้ จดั การประชุม

(Forest Carbon Partnership Facility) ของธนาคารโลก

ปรึกษาหารื อกับองค์กรภาคประชาสังคมระดับชาติครัง้ ที่หนึ่งขึ ้น ในหัวข้ อ
“การส่งเสริ มความเสมอภาคต่อกลไกการลดการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจก
จากการทาลายป่ าและความเสื่อ มโทรมของป่ าไม้ (REDD+): มุมมอง
จากภาคประชาสังคมในประเทศไทย” การประชุมครัง้ นี ้เป็ นหนึ่งในหลาย
กิจกรรมของโครงการของเรา ในประเทศไทย

หลังจากที่ ร่ าง R-PP ของประเทศไทยได้ รับการอนุมัติแล้ ว
ยังคงมีหลายเงื่อนไขที่ต้องได้ รับปรับปรุ งและพิจารณาซึง่ รวมถึงการสร้ าง
กระบวนการปรึ กษาหารื อกับภาคประชาสังคมในเชิงลึกให้ มากขึ ้น ท่าน
สามารถดูข้อมูลเกี่ยวกับการประชุมปรึ กษาหารื อครัง้ นี ้ และในครัง้ ต่อไป
ได้ จากเว็บไซต์ของเรา

ผลการประชุมปรึ กษาหารื อครั ง้ แรกกับภาคประชาสังคมใน
ประเทศไทยได้ ถูกน ามาเชื่ อ มโยงกับ การจัด ทาข้ อ เสนอในการเตรี ย ม
ความพร้ อมต่อกลไกเรดด์พลัส หรื อ R-PP ฉบับสมบูรณ์สาหรับประเทศ
ไทยได้ อ ย่ า งเป็ นรู ป ธรรม ตัว แทนจากภาคประชาสัง คมได้ น าเสนอ
ประเด็น ซึ่ง เป็ นความกัง วลและควรจะได้ รั บ การแก้ ไ ขก่ อ นที่ จ ะมี ก าร
รับรอง REDD+ จากภาคประชาสังคม ข้ อคิดเห็นจากภาคประชาสังคม
ดังกล่าวได้ ถกู นาเสนออย่างเป็ นทางการต่อ กองทุนหุ้นส่วนคาร์ บอนป่ า ไม้

การประชุมปรึ กษาหารื อครัง้ ต่อไปจะจัดขึ ้นที่ประเทศลาว และ
เวียดนาม ท่านสามารถติดต่อเพื่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมผ่านทาง
green.mekong@recoftc.org

สัมมนาระดับชาติว่าด้ วยเรื่ องมิตหิ ญิงชาย ที่ลาวและเวียดนาม
RECOFTC ได้ จัด เวที สัม มนาระดับ ชาติว่ า ด้ ว ยมิ ติ ห ญิ ง
ชาย หรื อ gender ขึ ้นในหลายประเทศในภูมิภาค การสัมมนา 2 เวที
แรกจัดขึน้ ที่ประเทศลาวและเวียดนามในช่วงต้ นปี ที่ผ่านมา และมีแผน
จะจัดเพิ่ มเติมอี กในประเทศอื่ นๆในภูมิ ภ าค วัตถุประสงค์ของการจัด
สัมมนาระดับชาติของผู้เชี่ยวชาญในประเด็นที่ว่าด้ วยมิติหญิงชาย ป่ าไม้
การเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิ อ ากาศ และ REDD+ ก็เ พื่ อ ให้ ทุก ฝ่ าย
ตระหนักถึงการนามุมมองในด้ านมิติหญิงชายมาสู่การพิจารณานโยบาย
และการลงทุน ด้ านป่ าไม้ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ และ

REDD+

ในประเทศลาว การสัมมนาจัดขึน้ โดยความร่ วมมือระหว่าง
RECOFTC และกรมป่ าไม้ ซงึ่ ขึ ้นกับกระทรวงการเกษตรและป่ าไม้ ของ
ประเทศลาว การสัมมนามีผ้ เู ข้ าร่ วมราว 45 คนจากหน่วยงานรัฐ องค์กร
ด้ านสิ่งแวดล้ อมที่ไม่ใช่ของรัฐทังระดั
้ บชาติและระหว่างประเทศ แหล่งทุน
และตัวแทนจากภาคประชาสังคมอื่นๆ นอกจากนี ้ยังมีเจ้ าหน้ าที่จากกรม
ต่างๆ ภายใต้ กระทรวงทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อ ม สานักงาน
REDD+ สมาคมรั กธรรมชาติ และสมาคมเพื่ อการพัฒนางานด้ านมิติ
หญิงชาย

ในประเทศเวียดนาม การสัมมนาเป็ นความร่ วมมื อ ระหว่าง

RECOFTC และกรมป่ าไม้ ของเวียดนาม มีผ้ เู ข้ าร่ วมจานวน 48 คนมา

จากหน่วยงานรัฐ, องค์กรพัฒนาเอกชนระหว่างประเทศ, และภาคประชา
สังคม เข้ าร่ วมในการสัมมนาเป็ นเวลา 1 วัน
ระหว่างการสัมมนาทัง้ 2 ครัง้ ตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ
ซึง่ รวมถึง Centre of Research & Development in Upland

Area (CERDA), United Nations collaborative initiative on
Reducing Emissions from Deforestation and forest
Degradation (UN-REDD) และ โครงการลดก๊ าซเรื อนกระจกในป่ า
เอเชี ย (LEAF) ในประเทศเวียดนาม ได้ ร่ วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

เกี่ยวกับการนามิติหญิงชายมาพิจารณาในกระบวนการดาเนินงาน การ
น าเสนอและอภิ ป รายจากการสัม มนาได้ ถู ก รวบรวมและจัด ท าเป็ น
ข้ อเสนอทางนโยบายสาหรับแต่ละประเทศ ซึง่ ท่านสามารถดูรายละเอียด
ได้ ในเว็บไซต์ของ RECOFTC

การสร้ างศักยภาพเพื่อส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของทุกฝ่ ายในสังคมในการเตรี ยมความพร้ อม
รั บกลไก REDD+

กองทุน หุ้นส่วนคาร์ บอนป่ าไม้ หรื อ FCPF จัดการประชุม
เชิงปฏิบตั ิการระดับภูมิภาคเรื่ อง “การสร้ างศักยภาพเพื่อส่งเสริ มการมี
ส่ ว นร่ วมของทุ ก ฝ่ ายในสั ง คมในการเตรี ยมความพร้ อมรั บ กลไก
REDD+” ขึ ้นระหว่างวันที่ 30 เมษายน ถึง 3 พฤษภาคม ที่กรุ งเทพฯ
โดยมีตวั แทนจากประเทศต่างๆ ในเอเชียเข้ าร่ วมประกอบด้ วย กัมพูชา
อิ น โดนี เ ซี ย ลาว เนปาล ปาปั วนิ ว กิ นี ประเทศไทย วานู อ าตู และ
เวียดนาม
การประชุม ได้ เ ปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูแ ทนจากหลากหลายภาค
ส่วนจากประเทศต่างๆ ในเอเชียแปซิฟิกที่กาลังเตรี ยมความพร้ อมในเรื่ อง
REDD+ ได้ เข้ ามาร่ วมเรี ยนรู้ ใน 3 ประเด็นที่มีความสัมพันธ์ กนั อย่างยิ่ง
และเป็ นหัวใจสาคัญของการเตรี ยมความพร้ อมสาหรั บกลไก REDD+
ซึ่งได้ รั บความสนับสนุนจาก FCPF อันได้ แก่ 1) การประเมินด้ าน
สิ่งแวดล้ อมและสังคมเชิงกลยุทธ์ (Strategic Environmental and


ฉบับที่1



ปี ที่ 1



มิถุนายน 2556



หน้ า 4 จาก 6

Social Assessment - SESA), 2) กระบวนการปรึ กษาหารื อและ
สร้ างการมีส่วนร่ วม และ 3) กลไกการรับฟั งข้ อคิดเห็นและแก้ ไขตามข้ อ

เรี ยกร้ อง

ตัวแทนจากประเทศต่างๆ ที่กาลังมีการเตรี ยมความพร้ อมรับ
กลไก REDD+ ได้ ร่วมเรี ยนรู้ วิเคราะห์ และนาเสนอความคืบหน้ าและ
ความท้ าทายต่างๆ จากการสร้ างการมีส่วนร่ วมของทุกฝ่ ายในสังคมใน
การเตรี ยมความพร้ อม ต่อกลไก REDD+
ท่านสามารถเข้ ามาดูเอกสารที่เกี่ยวข้ องจากการประชุมเชิง
ปฏิบตั กิ าร ได้ จากเว็บไซต์ของ FCPF ที่

https://www.forestcarbonpartnership.org/SHANGRILA
ND

เจนเดอร์ เลนส์ (Gender Lens) - มองผ่ านเลนส์ มิตหิ ญิงชาย

สาหรับส่วนนี ้ของจดหมายข่าวเรี ยกว่า เจนเดอร์ เลนส์ Gender Lens หรื อการมองผ่านเลนส์
มิติหญิงชาย จะประกอบด้ วยบทความ แหล่งข้ อมูล และการแลกเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับความเสมอภาค
ของหญิงชาย ผ่านทางการดาเนินงานของโครงการกรี นแม่โขง และเช่นเดียวกับส่วนอื่นๆ ในจดหมายข่าว
ของเรา เราจะมุ่งเน้ นการสื่อสารแบบสองทางกับผู้อ่าน โดยเราจะนาเสนอแนวทางที่ปฏิบตั ิได้ จริ งซึ่งจะ
นาไปสู่ความเสมอภาคในมิตหิ ญิงชายร่ วมกับการนาเสนอโอกาสในการดาเนินการด้ านต่างๆ ภายใต้ บริ บท
ที่คล้ ายคลึงกัน เจนเดอร์ เลนส์ เปิ ดรั บทุกความคิดที่มีค่าจากทุกท่าน เราขอใช้ โอกาสที่เป็ นฉบับแรกนี ้
อธิบายถึงความหมายของความเสมอภาคและอภิปรายเกี่ยวกับความจาเป็ นในการสร้ างความเสมอภาคใน
มิตหิ ญิงชาย

ความเสมอภาคในมิตหิ ญิงชาย คืออะไร?

มิติหญิ งชาย คือ รู ปแบบของการกระทา, ทัศนคติ และสมมติฐานต่อ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ตามแต่เพศสภาวะของเขาอันก่อให้ เกิดโอกาสและความคาดหวังในตัวบุคคลนัน้ มิติหญิงชายเป็ นหนึ่งใน
องค์ประกอบที่ก่อให้ เกิดความเสมอภาคดังที่ได้ กล่าวถึงในข้ างต้ น คาจากัดความของเราในเรื่ องความ
เสมอภาคของมิติหญิงชาย คือ การที่เพศสภาวะไม่ควรถูกแยกต่างหากจากปั จจัยอื่นๆที่ใช้ บ่งบอกถึง
ความหลากหลายของมนุษย์ เช่น เชื ้อชาติ เผ่าพันธุ์ ภาษา ความพิการ รายได้ หรื อความหลากหลายใน
ด้ านอื่นๆ

ช้ างและยีราฟ – เรื่ องราวของเพื่อนสองตัว

กาลครั ง้ หนึ่ง ในช่วงเวลาของภัยแล้ งที่ร้ายแรงที่สุดในรอบทศวรรษ ช้ าง
และเจ้ ายีราฟเพื่อนของมันร่ วมกันออกค้ นหานา้ และหลังจากการเดินรอนแรมอยู่
หลายวัน ทังสองได้

พบกับเหยือกที่เต็มไปด้ วยนา้ ใบหนึ่ง ช้ างจัดการใช้ งวงของมัน
จุ่มลงในปากเหยือกอย่างรวดเร็ วเพื่อจิบเอาน ้าจากเหยือกซึง่ ให้ ความรู้ สึกราวกับว่า
เป็ นการดื่มนา้ ครั ง้ แรกในเวลาอันยาวนานหลายปี ช้ างหันไปยังเพื่อนอย่างเริ งร่ า
หวังว่าเพื่อนรู้ สกึ ผ่อนคลายเช่นเดียวกับตน แต่ยีราฟกลับดูร้ ู สกึ สับสนและคลุ้มคลัง่

“เรื่องมิตหิ ญิงชายเป็ นประเด็นที่มี
ความสาคัญ และไม่ ควรมองข้ าม,
โดยเฉพาะอย่ างยิ่งในกระบวนการ
บรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศผ่ านกลไก REDD+ หาก
เราไม่ นาทัง้ ชายและหญิง(ซึ่งเป็ น
สมาชิกในชุมชน)มาเข้ าร่ วม ในกระบวนการวางแผนและดาเนินงาน
โอกาสที่จะเกิดความสาเร็จนัน้ มีน้อย
มาก”
ดร.เหงียน บา ไง รองอธิ บดีกรมป่ าไม้
ประเทศเวียดนาม, กล่าวถึงความสาคัญ
ของมิตหิ ญิงชายในการสัมมนาระดับชาติ
ว่าด้ วยมิติหญิงชาย ที่เมืองฮานอย ใน
เดือนเมษายน 2556

ยีราฟพยายามเต็มที่ที่จะดื่มน ้าจากเหยือกแคบๆ ใบนัน้ มันก้ มลงให้ ต่าที่สุดเท่าที่จะทาได้ และเกือบจะทาให้ เหยือก
นันล้
้ มคว่าลงแต่ก็ไม่สามารถดื่มน ้าได้ ในทันใดนันสั
้ ตว์ทงสองตั
ั้
วตระหนักได้ ว่ายีราฟไม่สามารถดื่มน ้าจากเหยือกประเภทนี ้ได้
“แต่เพราะอะไร?” ทังสองตั

วยังสงสัย “ทาไมยีราฟจึงไม่สามารถดื่มน ้าจากเหยือกได้ เหมือนอย่างช้ าง?”
มาริ เดล อัลเบอร์ โต ผู้เชี่ยวชาญด้ านมิตหิ ญิงชายอธิบายว่า “เราจะสามารถบรรลุถงึ ความเท่าเทียมได้ ก็ต่อเมื่อมีความ
เสมอภาคในผลกระทบที่เกิดขึ ้น, กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ – ผลลัพธ์ที่เรามุ่งหวังให้ เกิดขึ ้นคือความเท่าเทียม ซึง่ สามารถเกิดขึ ้นได้
ต่อเมื่อมีความเสมอภาคเกิดขึ ้น ในเรื่ องราวสันๆ
้ ของช้ างและยีราฟ หากภาชนะมีความกว้ างเพียงพอที่จะเอื ้อให้ ปากของยีราฟ
เข้ าไปได้ ความเท่าเทียมในการเข้ าถึงน ้าในเหยือกจึงจะเกิดขึน”

อัลเบอร์ โตอธิ บายต่อถึงความเชื่อมโยงของเรื่ อ งนีก้ ับกรอบคิดของโครงการกรี นแม่โขงในเรื่ องความเสมอภาคว่า
“ความเสมอภาคในมิติหญิงชาย คือ การตระหนักได้ ว่า เราไม่ควรมองเพียงแค่เรื่ องความความแตกต่างของเพศหญิง -ชาย แต่
เราควรจะสร้ างความเป็ นธรรมโดยให้ โอกาสกับทุกคนเท่ากัน ด้ วยการกาจัดอุปสรรคต่างๆ หรื อการเพิ่มศักยภาพด้ านต่างๆ ที่
ช่วยทาให้ ทุกคนสามารถใช้ สิทธิตามที่มีไ